Ice cream
การจำแนก
- รูปร่าง
* แท่ง * ถ้วย * กรวย * ก้อน
- รูปทรง
* กลม * สามเหลี่ยม *สี่เหลี่ยม
* ครึ่งวงกลม * กรวย *กระบอก
- สี
* แดง * ขาว * ชมพู * ฟ้า * ม่วง
* เขียว * น้ำตาล * ดำ * เหลือง * เทา * ครีม
- รสชาด
* หวาน * เปรี้ยว * ซ่า * มัน * หวานอมเปรี้ยว * ขม
* เค็ม * กาแฟ * ช็อคโกแล็ต * เรนโบว์
* ผลไม้
- กล้วย - สตอเบอรี่ - ส้ม - องุ่น - ลิ้นจี่ - ถั่วแดง - ข้าวโพด - สละ - ราสเบอรี่ - แอบเปิ้ล - มะนาว - สับปะรด
- กลิ่น
* ใบเตย * มะลิ * ทุเรียน * โคล่า * มิ้น * วานิลลา
- ผิวสัมผัส
* เรียบ * ขรุขระ * กรุบกรับ * เป็นเม็ด
การนับ
- แท่ง
- ถ้วย
- กรวย
- ก้อน
- อุณหภูมิ
* เย็นเป็นปกติ * เย็นมาก * เย็นเป็นเกร็ดน้ำแข็ง
จับลำดับ
- ขนาด
* ก้อนไอศกรีมในถ้วย * ความยาวของแท่งไอศกรีม
จับคู่
- สี + รสชาด
- สี + กลิ่น
- รูปร่าง/รูปทรง + ภาชนะ
เซต
- กลิ่น
* สังเคราะห์ * ธรรมชาติ
- รสชาด
* เดี่ยว * ผสม
- สี
* สังเคราะห์ * ธรรมชาติ
- น้ำหนัก
เศษส่วน
- จำนวนไอศกรีม / ถ้วย
- จำนวนไอศกรีม / กรวย
- จำนวนแท่งไอศกรีม / บรรจุภัณฑ์
- ปริมาณ / ราคา
การอนุรักษ์
- ไอศกรีมในกรวย กับไอศกรีมในแก้ว
- การวางไอศกรีมในตำแหน่งที่ใกล้เคียงกัน
- ไอศกรีม 1 ก้อนในแก้วที่ไม่ละลาย กับ ไอศกรีม 1 ก้อนในแก้วที่ไม่ละลาย
แปรรูป
- ไอศกรีมปั่น
- ไอศกรีมทอด
- เค้ก
ส่วนประกอบ
- ภายใน
* นมสด / นมข้น * แป้งมัน * กะทิ *น้ำตาลทราย
* หัวเชื้อ / กลิ่นสังเคราะห์
- ภายนอก
* น้ำแข็ง * เกลือ
สถานที่
- ร้านสะดวกซื้อ
- รถเข็น
- Swensen
- KFC
- ห้างสรรพสินค้า
การรักษา
- แช่ตู้เย็น
วันพฤหัสบดีที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
วันที่5/02/52
วันนี้อาจารย์ สอนเกี่ยวกับการวางแผนการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ ในแต่ละกลุ่มมีกี่คนแล้วให้สอนตามวัน โดยอาจจะจัดการสอนแบบ
วันที่ 1 สอนเกี่ยวกับลักษณะของหน่วย โดยการใช้เกณฑ์อย่างเดียว เช่น รูปร่าง ขนาดโดยมีการใช้คำถามการเปรียบเทียบ การนับ
วันที่ 2 สอนเกี่ยวกับส่วนประกอบของหน่วยที่ทำ โดยอาจมีการทบทวนความรู้เดิมต่อเนื่องจากที่เราสอนเมือวานนี้ อาจใช้เพลงหรือนิทาน คำคล้องจอง หรืออาจจะใช้คำถามเช่น เมื่อวานนี้เราเรียนเกี่ยววกับอะไรเด็กๆ จำได้หรือเปล่ามีอะไรบ้างคะ
วันที่ 3 สอนเกี่ยวกับประโยชน์ของหน่วยที่ทำ โดยสอนผ่านนิทานที่สามารถบอกประโยชน์ของเรื่องที่ทำได้ หรืออาจจะพูดถึงประโยชน์และโทษของหน่วยที่
วันที่ 1 สอนเกี่ยวกับลักษณะของหน่วย โดยการใช้เกณฑ์อย่างเดียว เช่น รูปร่าง ขนาดโดยมีการใช้คำถามการเปรียบเทียบ การนับ
วันที่ 2 สอนเกี่ยวกับส่วนประกอบของหน่วยที่ทำ โดยอาจมีการทบทวนความรู้เดิมต่อเนื่องจากที่เราสอนเมือวานนี้ อาจใช้เพลงหรือนิทาน คำคล้องจอง หรืออาจจะใช้คำถามเช่น เมื่อวานนี้เราเรียนเกี่ยววกับอะไรเด็กๆ จำได้หรือเปล่ามีอะไรบ้างคะ
วันที่ 3 สอนเกี่ยวกับประโยชน์ของหน่วยที่ทำ โดยสอนผ่านนิทานที่สามารถบอกประโยชน์ของเรื่องที่ทำได้ หรืออาจจะพูดถึงประโยชน์และโทษของหน่วยที่
วันพฤหัสบดีที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2552
วันพฤหัสบดีที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2552
บันทึกหลังการสอนวันที่8/01/52
อาจารย์ให้ทำmindmapperโดยใช้โปรแกรมmindmapper ให้สร้างหน่วยที่จะสังเกตการสอนให้คิดเป็นหน่วยที่จะนำไปสอนเด็ก
วันพฤหัสบดีที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2551
บันหลังการสอน18/12/51
อาจารย์สอน การเตรียมความพร้อมเด็ก ให้เก่งคณิตศาสตร์นั้น จะต้องฝึกให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านสายตา
ก่อนเป็นอันดับแรก ถ้าเด็กไม่สามารถใช้สายตา ในการจำแนกจัดแบ่งประเภทแล้ว เด็กก็จะมีปัญหาด้านการเรียนรู้กับคณิตศาสตร์ได้
หลักการสอนคณิตศาสตร์
ครูปฐมวัยที่ดีนอกจากจะเข้าใจ พัฒนาการเด็กธรรมชาติของการเรียนรู้ของเด็ก และขอบข่ายของหลังสูตรอย่างลึกซึ้งได้แล้ว ยังเป็นผู้ที่รู้แล้วเข้าใจหลักการสอน หลักการสอนคณิตศาสตร์สำหลับปฐมวัยอย่างดีด้วย
1 สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2 เปิดโอกาศให้เด็กรับประสบการณ์ที่ทำให้พบคำตอบด้วยตัวเอง
3 มีเป้าหมายและมีการวางแผนอย่างดี
4 เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นตอนการพัฒนาความคิดรวบยอดของเด็ก
5 ใช้วิธิการจดบันทึกพฤติกรรมหรือระเบียบพฤติกรรมเพื่อใช้ในการวางแผนและจัดกิจกรรม
6 ใช้ประโยชน์จากประสบการณ์เดิมของเด็ก
7 รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นให้เกิดประโยชณ์
8 ใช้วิธิสอดแทรกกับชีวิตจริง เพื่อสอนความคิดรวบยอดที่ยากๆ
9 ใช้วิธิให้เด็กมีสวนร่วมหรือปฎิบัติการณ์จริงที่เกี่ยวกับตัวเลข
10 วางแผนส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ทั้งที่โรงเรียนและที่บ้านอย่างต่อเนื่อง
11 บันทึกปัญหาการเรียนรู้ของเด็กอย่างสม่ำเสมอเพื่อแก้ไขปรับปรุง
12 คาบหนึ่งควรสอนความคิดรวบยอดเดียว
13 นำกระบวนการเล่นจากง่ายไปยาก
14 ครูควรสอนสัญลักษณ์ตัวเลขหรือเครื่องหมายให้เด็กเข้าใจนั้น
ก่อนเป็นอันดับแรก ถ้าเด็กไม่สามารถใช้สายตา ในการจำแนกจัดแบ่งประเภทแล้ว เด็กก็จะมีปัญหาด้านการเรียนรู้กับคณิตศาสตร์ได้
หลักการสอนคณิตศาสตร์
ครูปฐมวัยที่ดีนอกจากจะเข้าใจ พัฒนาการเด็กธรรมชาติของการเรียนรู้ของเด็ก และขอบข่ายของหลังสูตรอย่างลึกซึ้งได้แล้ว ยังเป็นผู้ที่รู้แล้วเข้าใจหลักการสอน หลักการสอนคณิตศาสตร์สำหลับปฐมวัยอย่างดีด้วย
1 สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2 เปิดโอกาศให้เด็กรับประสบการณ์ที่ทำให้พบคำตอบด้วยตัวเอง
3 มีเป้าหมายและมีการวางแผนอย่างดี
4 เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นตอนการพัฒนาความคิดรวบยอดของเด็ก
5 ใช้วิธิการจดบันทึกพฤติกรรมหรือระเบียบพฤติกรรมเพื่อใช้ในการวางแผนและจัดกิจกรรม
6 ใช้ประโยชน์จากประสบการณ์เดิมของเด็ก
7 รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นให้เกิดประโยชณ์
8 ใช้วิธิสอดแทรกกับชีวิตจริง เพื่อสอนความคิดรวบยอดที่ยากๆ
9 ใช้วิธิให้เด็กมีสวนร่วมหรือปฎิบัติการณ์จริงที่เกี่ยวกับตัวเลข
10 วางแผนส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ทั้งที่โรงเรียนและที่บ้านอย่างต่อเนื่อง
11 บันทึกปัญหาการเรียนรู้ของเด็กอย่างสม่ำเสมอเพื่อแก้ไขปรับปรุง
12 คาบหนึ่งควรสอนความคิดรวบยอดเดียว
13 นำกระบวนการเล่นจากง่ายไปยาก
14 ครูควรสอนสัญลักษณ์ตัวเลขหรือเครื่องหมายให้เด็กเข้าใจนั้น
วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
บันทึกหลังเรียน 27/11/51
วันนี้อาจารย์สอน
ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยศึกษา
1 การนับ
2 ตัวเลข
3 การจับคู่
4 การจักประเภท
5 การเปรียบเทียบ
6 การจัดลำดับ
7 รูปทรงและเนื้อที่
8 การวัด
9 เซท
10 เศษส่วน
ลักษณะหลักสูตรที่ดี
มีความสมดุลในเรื่องต่อไปนี้
- เน้นกระบวนการคิดและการคิดความคิดรวบยอด
- เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช่ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวันไม่ใช่การท่องจำ
- แนะนำคำศัพท์ใหม่ๆ และสัญลักษณ์อย่างค่อยเป็นค่อยไป
- เสริมสร่างให้เด็กเกิดการเชื่อมั่นและค้นคว้าข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบ
- ส่งเสริมให้เกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม
- เน้นให้เกิดความคิดรวบยอดที่มีทักษะคณิตศาสตร์ไปพร้อมๆกัน
- เปิดให้เด็กได้ค้นคว้าสำรวจปฎิบัติรู้จักตัดสินใจได้ตัวเอง
ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยศึกษา
1 การนับ
2 ตัวเลข
3 การจับคู่
4 การจักประเภท
5 การเปรียบเทียบ
6 การจัดลำดับ
7 รูปทรงและเนื้อที่
8 การวัด
9 เซท
10 เศษส่วน
ลักษณะหลักสูตรที่ดี
มีความสมดุลในเรื่องต่อไปนี้
- เน้นกระบวนการคิดและการคิดความคิดรวบยอด
- เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช่ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวันไม่ใช่การท่องจำ
- แนะนำคำศัพท์ใหม่ๆ และสัญลักษณ์อย่างค่อยเป็นค่อยไป
- เสริมสร่างให้เด็กเกิดการเชื่อมั่นและค้นคว้าข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบ
- ส่งเสริมให้เกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม
- เน้นให้เกิดความคิดรวบยอดที่มีทักษะคณิตศาสตร์ไปพร้อมๆกัน
- เปิดให้เด็กได้ค้นคว้าสำรวจปฎิบัติรู้จักตัดสินใจได้ตัวเอง
สรุปงานวิจัย
มีการเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ สำหรับเด็กปฐมวัย2/2543 ร.รยะหริ่ง จ.ยะลา เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการของเด็กให้เกิดความพร้อมด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปัญญา โดยการจัดประสบการณ์ที่จะช่วยให้เด็กดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุขและเตรียมพร้อมให้เด็ก โดยการใช้กิจกรรมสื่อการสอน เกมส์การศึกษาต่างๆเป็นเครื่องมือพื้นฐาน เพื่อให้เด็กได้ประสบการณ์ตรง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)